สิ่งปกคลุมดิน/สิ่งมีชีวิต (LandCover)

เขียนโดย webmaster เมื่อ . หัวข้อ สื่อการเรียนรู้, หลักวิธีดำเนินการตรวจวัดสิ่งแวดล้อม l Protocol

ที่มา: ปรับปรุงจากคู่มือครู แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามโครงการของ GLOBE เรื่อง สิ่งปกคลุมดิน, 2540. (www.globe.gov)

การศึกษาสิ่งปกคลุมดินในแต่ละพื้นที่ช่วยให้เราเข้าใจโลกซึ่งประกอบด้วยระบบวัฏจักรของพลังงาน วัฏจักรของน้ำ และวัฏจักรของสารเคมีที่เป็นองค์ประกอบสำคัญของโลก เช่น คาร์บอน ไนโตรเจน ซัลเฟอร์ และฟอสฟอรัส ในวัฏจักรของพลังงาน สิ่งปกคลุมดินมีผลต่อการสะท้อนรังสีดวงอาทิตย์ ซึ่งการสะท้อนดังกล่าวมีผลต่ออุณหภูมิของบรรยากาศ ผิวดิน และลักษณะภูมิอากาศในบริเวณนั้น ในท้องถิ่น และภูมิภาคนั้น อุณหภูมิในแต่ละท้องถิ่นก็จะมีผลต่อชนิดของพืชในแถบนั้นด้วย

site-selection การกำหนดพื้นที่ศึกษา tree-circumference การวัดเส้นรอบวงของต้นไม้
GPS การวัดพิกัดทางภูมิศาสตร์ graminoid การวัดมวลชีวภาพของพืชคลุมดิน (Graminoid Biomass)
canopy การวัดการปกคลุมของเรือนยอด และพืชปกคลุมดิน(Canopy Cover and Ground Cover) budburst การศึกษาการผลิตาของไม้ต้นเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล (Budburst)
tree-height การวัดความสูงของต้นไม้ (Tree Height) greenup-greendown การศึกษาพัฒนาการของใบ (Green up) และการเปลี่ยนสีของใบ (Green Down) ของไม้ต้น (Tree) และไม้พุ่ม (Shrub)